กำกึ๊ดแม่ญิง ชุมชนล้านนากับการจัดการสุรา

โดย ศูนย์สตรีศึกษา ภาควิชาสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สุราภาคเหนือตอนบน: การควบคุมของท้องถิ่นในมุมมองสตรีนิยม โดย ไพบูลย์ เฮงสุวรรณ
  • การจัดการปัญหาสุราของผู้หญิงในชุมชนเมือง: กรณีศึกษาชุมชนฟ้าใหม่ โดย พูนสุข ขันธาโรจน์
  • การจัดการปัญหาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีส่วนร่วมของสตรีและชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ุบ้านตีนธาตุ เพื่อยกระดับสู่นโยบายท้องถิ่น โดย วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์
  • สุรานารีกับการจัดการตนเองของชุมชนในจังหวัดพะเยา่ โดย วิเศษ สุจินพรัหม และ สหัทยา วิเศษผู้หญิงกับการจัดการ "สุราพื้นบ้าน" ของชุมชนสะเอียบ โดย เยาวลักษณ์ ยานุช
  •  ปัญหาสุราและการควบคุมของท้องถิ่นในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองแนวสตรีนิยม โดย ไพบูลย์ เฮงสุวรรณ
ถ้ายึดผู้หญิงหรือชุมชนเป็นตัวตั้ง
ผู้หญิงหรือชุมชนก็จะมองว่า อะไรเป็นปัญหาสำหรับเขา
จริงอยู่ที่การดื่มสุรากระทบกับสังคมโดยรวมด้วย
แต่การแก้ปัญหาของชาวบ้านก็ไม่ใช่ว่าจะต้องมา "ห้าม"
แต่เป็นในลักษณะที่ว่า
ดื่มสุราได้แค่ไหน ถึงจะพอและยอมรับได้
เพราะฉะนั้นจึงมีลักษณะของการต่ารองกันเสียมากกว่า
ลักษณะเช่นนี้เป็นการจัดการที่ผู้หญิงใช้ภายในชุุมชน
เพราะว่าไม่ใช่เป็นเส้นแบ่งที่ตายตัวว่า
ตรงนี้ห้าม (ดื่มสุรา) แต่มีความยืดหยุ่น

 ดาวน์โหลดบทความ